legislature ang government

การจัดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 / ชาติชาย ณ เชียงใหม่, กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2563

หนังสือ การจัดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 มุ่งศึกษาหลักความสัมพันธ์ของสองอำนาจนี้ และความมุ่งหมายของจัดการความสัมพันธ์ดังกล่าวตามบริบทควมรัฐธรรมนูญปี 2560
ผลการศึกษาพบว่า จากคำปรารภของรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560 เห็นได้ว่า มีความมุ่งหมายเพื่อประสิทธิภาพของสถาบันทางการเมือง โดยเพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่ให้ถูกต้อง รวดเร็ว อิสระ และมีธรรมาภิบาล
เพิ่มเสถียรภาพทางการเมือง ลดความขัดแย้งทางการเมือง ส่งเสริมให้ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และองค์กรอิสระ มีความร่วมมือ มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อกันเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชน โดยให้รัฐทำหน้าที่ทำให้ทุกคนเข้าถึง
และใช้ประโยชน์จากสิทธิประโยชน์และบริการสาธารณะอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง มุ่งปฏิรูปประเทศในทุกด้าน ส่งเสริมการทำหน้าที่พลเมืองของประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560กำหนดหลักการ มาตรการและวิธีการตรวจสอบและ
ถ่วงดุลอำนาจที่มุ่งให้ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถทำหน้าที่ได้ดี คุ้มครองให้ประชาชนใช้สิทธิและเสรีภาพได้จริง ฝ่ายบริการสามารถนำนโยบายที่แถลงไปปฏิบัติบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาล และองค์กรอิสระ
และศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบให้ทุกฝ่ายทำหน้าที่ของตนได้ถูกต้องชอบธรรม มีหลายประเด็นที่ไม่เคยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ เช่น กำหนดให้รัฐบาลบริหารงานอย่างมีทิศทางชัดเจนตามนโยบายที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ ใช้อำนาจโดยรับผิดชอบ เพื่อให้รัฐสภาเป็นที่ทุกฝ่ายนำปัญหาความต้องการ และความคิดเห็นต่างมาหาข้อยุติ ทางออกโดยสันติ เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูยและองค์กรอิสระทำงานเชิงรุก
รวดเร็ว อิสระ และร่วมมือช่วยเหลือกันในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อลดความขัดแย้งทางการเมือง มุ่งลดความเหลื่อมล้ำ

Call No. JQ1745 .ช24

หนังสือน่าสนใจทั้งหมด


 
 
 
1xbet casino siteleri bedava bahis kaçak bahis superbetin yeni giriş casino siteleri