Infodemic การระบาดของข้อมูลเท็จกับหน้าที่ของบรรณารักษ์/นักเอกสารสนเทศ ในยุคโควิด 19

 

นายวินัย มะหะหมัด
บรรณารักษ์ชำนาญการ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

                    Infodemic มาจากคำผสมสองคำ (information" and "epidemic) การระบาดของข้อมูลเท็จ เป็นคำที่ไม่เป็นทางการ หมายถึง ข้อมูลที่จำนวนมากที่กระจ่ายอย่างรวดเร็ว เป็นประเด็นที่เกิดขึ้นจากปัญหาหรือวิกฤตในห่วงเวลานั้น จากข่าวลือ และยังเป็นประเด็นถกเถียง ถึงข้อเท็จจริง จากกรณีตัวอย่างของการระบาดของโรคโควิด 19 ที่คุณปริตตา หวังเกียรติ ได้เล่าถึงผลกระทบการระบาดของข้อมูล หรือ infodemic ส่งผลกระทบในวงกว้างทั้งภาครัฐ และองค์กรระดับนานาชาติ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) เพราะต้องเร่งแก้ไขข้อมูลเท็จ เพื่อลบข้อมูลเท็จและสินค้าปลอมที่เกี่ยวข้องกับเชื้อโควิด-19 ที่เป็นข้อมูลข่าวลวง จากสื่อดิจิทัล  Facebook, Pinterest และ Amazon ถึงแม้ว่าบริษัทเหล่านี้จะสามารถแก้ไขข้อมูลให้ได้ทันที แต่ก็ไม่สามารถตามลบได้หมด ทำให้รัฐบาลแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ แต่ละประเทศจึงมีมาตราการจัดการและหาผู้รับผิดชอบช่วยดูแลเรื่องนี้อย่างเร่งด่วน ซึ่งประเทศไทย เรามีศูนย์ต่อต้านช่าวปลอม (Anti-Fake News Center) ในการมอนิเตอร์และตรวจสอบข่าวสาร ภายใต้การกำกับของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

                   ข้อมูลข่าวสารที่เร็วปัจจุบันทันด่วน เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการถวิลหา แต่ความน่าเชื่อถือและแหล่งข้อมูลที่ถูกต้องเป็นสิ่งควรให้ความสำคัญยิ่งกว่า ข้อมูลให้ร้าย โฆษณาชวนเชื่อ หรือข่าวลวงล้วนก่อให้เกิดความเสียหาย และเราทุกคนสามารถช่วยกันการตรวจสอบแหล่ง จากสื่อสังคมออนไลน์ได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยสกัดข่าวล่วง ข่าวลือ ข่าวหลอก (Fake news) ให้กับสังคมไทย ประเทศชาติ และโลกได้ ถึงแม้ที่มาของข้อมูลนั้นจะไม่ใช่เรื่องจริงก็ตาม ทั้งนี้การคัดกรอง สกัดกั้นข่าวลือ และช่วยเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง จะได้ลดการระบาดของข้อมูลเท็จได้

                   บรรณารักษ์/นักเอกสารสนเทศ เป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีบทบาทหน้าที่นั้น เราทำการคัดสรรและเผยแพร่แหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่น่าเชื่อถือซึ่งสามารถติดตามแหล่งที่มาของข้อมูลได้ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้บริการซึ่งได้รับการยอมรับในแวดวงวิชาการ บุคลากรทางการศึกษา อาจารย์ นักวิจัย อย่างแพร่หลาย เพราะเราเชี่ยวชาญในแหล่งสารสนเทศ และเครื่องมือตรวจสอบผลงานทางวิชาการ เรายึดมั่นในหลักจรรยาบรรวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้มีการอ้างอิงผลงานอย่างถูกต้องและเป็นมาตราฐานสากล ด้วยเครื่องมือโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมที่ทันสมัย ตลอดจนส่งเสริมการใช้เครื่องมือเป็นที่การยอมรับ Citation Database: Web of Science / Scopus เพื่อตีพิมพ์วารสารที่มีอยู่ปัจจุบันผ่านการรับรองจากแหล่งทุนอุดหนุนเชื่อถือได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งการช่วยคัดกรองตรวจสอบรายชื่อวารสารปลอมในกลุ่ม Hijacked Journals หรือ Beall's Listhijack journal ก่อนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้

          ดังนั้นผู้รวบรวมจึงสนใจที่จะคัดสรรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ Infodemic หรือการระบาดของข้อมูลเท็จ และช่วยกันตระหนักก่อนที่จะแชร์ข้อมูล เพราะสิ่งที่น่ากลัวมากกว่าการระบาดของโรคโควิด คือข่าวลือที่ไม่จริงเพราะมันแพร่กระจายได้เร็วและกว้างขวาง และส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจของประเทศชาติในปัจจุบัน

 

ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากรายการบรรณานุกรมที่นี่

 

เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล, and ธัญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์. "ข่าวลวง : ปัญหาและความท้าทาย." วารสารวิชาการ กสทช. ประจำปี 2561 3, no. 18 (2561): 173-92.

Ahmad, A. R., and H. R. Murad. "The Impact of Social Media on Panic During the Covid-19 Pandemic in Iraqi Kurdistan: Online Questionnaire Study." Journal of Medical Internet Research 22, no. 5 (2020). https://doi.org/10.2196/19556.

Bruns, A., S. Harrington, and E. Hurcombe. "‘Corona? 5g? Or Both?’: The Dynamics of Covid-19/5g Conspiracy Theories on Facebook." Media International Australia 177, no. 1 (2020): 12-29. https://doi.org/10.1177/1329878X20946113.

Cinelli, M., W. Quattrociocchi, A. Galeazzi, C. M. Valensise, E. Brugnoli, A. L. Schmidt, P. Zola, F. Zollo, and A. Scala. "The Covid-19 Social Media Infodemic." Scientific Reports 10, no. 1 (2020). https://doi.org/10.1038/s41598-020-73510-5.

Dubey, S., P. Biswas, R. Ghosh, S. Chatterjee, M. J. Dubey, S. Chatterjee, D. Lahiri, and C. J. Lavie. "Psychosocial Impact of Covid-19." Diabetes and Metabolic Syndrome: Clinical Research and Reviews 14, no. 5 (2020): 779-88. https://doi.org/10.1016/j.dsx.2020.05.035.

Greenspan, R. L., and E. F. Loftus. "Pandemics and Infodemics: Research on the Effects of Misinformation on Memory." Human Behavior and Emerging Technologies  (2020). https://doi.org/10.1002/hbe2.228.

López-Pujalte, C., and M. V. Nuño-Moral. ""Infodemic" in the Coronavirus Crisis: Disinformation Analysis in Spain and Latin America." Revista Espanola de Documentacion Cientifica 43, no. 3 (2020). https://doi.org/10.3989/redc.2020.3.1807.

Luo, J., R. Xue, and J. Hu. "Covid-19 Infodemic on Chinese Social Media: A 4p Framework, Selective Review and Research Directions." Measurement and Control (United Kingdom)  (2020). https://doi.org/10.1177/0020294020967035.

Marin, L. "Three Contextual dimensions of Information on Social Media: Lessons Learned from the Covid-19 Infodemic." Ethics and Information Technology  (2020). https://doi.org/10.1007/s10676-020-09550-2.

Medford, R. J., S. N. Saleh, A. Sumarsono, T. M. Perl, and C. U. Lehmann. "An "Infodemic": Leveraging High-Volume Twitter Data to Understand Early Public Sentiment for the Coronavirus Disease 2019 Outbreak." Open Forum Infectious Diseases 7, no. 7 (2020). https://doi.org/10.1093/ofid/ofaa258.

Moon, H., and G. H. Lee. "Evaluation of Korean-Language Covid-19-Related Medical Information on Youtube: Cross-Sectional Infodemiology Study." Journal of Medical Internet Research 22, no. 8 (2020). https://doi.org/10.2196/20775.

Mourad, A., A. Srour, H. Harmanai, C. Jenainati, and M. Arafeh. "Critical Impact of Social Networks Infodemic on Defeating Coronavirus Covid-19 Pandemic: Twitter-Based Study and Research Directions." IEEE Transactions on Network and Service Management 17, no. 4 (2020): 2145-55. https://doi.org/10.1109/TNSM.2020.3031034.

Naeem, S. B., R. Bhatti, and A. Khan. "An Exploration of How Fake News Is Taking over Social Media and Putting Public Health at Risk." Health Information and Libraries Journal  (2020). https://doi.org/10.1111/hir.12320.

Pobiruchin, M., R. Zowalla, and M. Wiesner. "Temporal and Location Variations, and Link Categories for the Dissemination of Covid-19-Related Information on Twitter During the Sars-Cov-2 Outbreak in Europe: Infoveillance Study." Journal of Medical Internet Research 22, no. 8 (2020). https://doi.org/10.2196/19629.

Pulido, C. M., B. Villarejo-Carballido, G. Redondo-Sama, and A. Gómez. "Covid-19 Infodemic: More Retweets for Science-Based Information on Coronavirus Than for False Information." International Sociology 35, no. 4 (2020): 377-92. https://doi.org/10.1177/0268580920914755.

Ratzan, S. C., S. Sommariva, and L. Rauh. "Enhancing Global Health Communication During a Crisis: Lessons from the Covid-19 Pandemic." Public Health Research and Practice 30, no. 2 (2020). https://doi.org/10.17061/phrp3022010.

Rodrigues, U. M., and J. Xu. "Regulation of Covid-19 Fake News Infodemic in China and India." Media International Australia 177, no. 1 (2020): 125-31. https://doi.org/10.1177/1329878X20948202.

Rovetta, A., and A. S. Bhagavathula. "Global Infodemiology of Covid-19: Analysis of Google Web Searches and Instagram Hashtags." Journal of Medical Internet Research 22, no. 8 (2020). https://doi.org/10.2196/20673.

Su, Y. "It Doesn't Take a Village to Fall for Misinformation: Social Media Use, Discussion Heterogeneity Preference, Worry of the Virus, Faith in Scientists, and Covid-19-Related Misinformation Beliefs." Telematics and Informatics 58 (2021). https://doi.org/10.1016/j.tele.2020.101547.

Tangcharoensathien, V., N. Calleja, T. Nguyen, T. Purnat, M. D'Agostino, S. Garcia-Saiso, M. Landry, et al. "Framework for Managing the Covid-19 Infodemic: Methods and Results of an Online, Crowdsourced Who Technical Consultation." Journal of Medical Internet Research 22, no. 6 (2020). https://doi.org/10.2196/19659.

 

 

แหลงที่มา:

1) ความหมาย infodemic https://www.merriam-webster.com/words-at-play/words-were-watching-infodemic-meaning
2) The COVID-19 infodemic, Volume 20, Issue 8, August 2020, Page 875 https://www.thelancet.com/journals/laninf/article/PIIS1473-3099(20)30565-X/fulltext

3) พจนานุกรมออนไลน์ oxforddictionaries https://www.lexico.com/definition/infodemic

4) พจนานุกรมออนไลน์ collinsdictionary https://www.collinsdictionary.com/submission/7826/Infodemic
5) Infodemic: การแพร่ระบาดของข้อมูลเท็จในวิกฤติ 'โควิด-19' | Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ https://www.hfocus.org/content/2020/04/19075

 

 


1xbet casino siteleri bedava bahis kaçak bahis superbetin yeni giriş casino siteleri