รองศาสตราจารย์ ดร.รังรอง ยกส้าน

Associate Professor Rangrong Yoksan, Ph.D.

ประวัติและผลงาน

Your content goes here. Edit or remove this text inline or in the module Content settings. You can also style every aspect of this content in the module Design settings and even apply custom CSS to this text in the module Advanced settings.

 

รองศาสตราจารย์ ดร.รังรอง ยกส้าน

Associate Professor Rangrong Yoksan, Ph.D.

ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Department of Packaging and Materials Technology, Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University

50 Ngamwongwan Rd., Ladyao, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand

Tel.: (66)2-562-5097, Fax.: (66)2-562-5046

E-mail: rangrong.y@ku.ac.th

ประวัติการศึกษา

2546 วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) สาขาพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2543 วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ)

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2541 วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) สาขาเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประวัติการทำงานและประสบการ์ณ

2564-2565 รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายมาตรฐานห้องปฏิบัติการและบริการทดสอบ ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2560-2564 รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2558-ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2556 Short-term research, Self-assembled nanoparticles for controlled release of bioactive compound, Prof. Mingqing Chen, School of Chemical and Materials Engineering, Jiangnan University, China (1 month)

2552 The Pennsylvania State University Postdoctoral Fellowship, Compatibilization of two or more incompatible biopolymers for the creation of biocomposites that could serve as the basis for compostable bioplastics for agricultural applications, Prof. Gregory Ray Zigler, Department of Food Science, The Pennsylvania State University, USA (3 months)

2551 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2549-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2548-2549 JSPS (Japan Society for the Promotion of Science) Postdoctoral Fellowship, Development of a high-performance vaccine composed of novel biodegradable chitosan nanoparticles, Prof. Mitsuru Akashi, Department of Applied Chemistry, Graduate School of Engineering, Osaka University, Japan (1 year)

2547-2552 อาจารย์ประจำโครงการจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีทางกระบวนการเคมีและฟิสิกส์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

รางวัล

    1. Rising Star Researcher, 4th Polymer Conference of Thailand, Bangkok, Thailand, March 20-21, 2014.
    2. รางวัลเชิดชูเกียรติ ยุวปราชญ์วิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในโอกาสครบรอบ 35 ปี สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้ไว้ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2556
    3. An Invited Lecture of Asia Excellence, Encapsulation of bioactive compounds into chitosan nanoparticles. 59th SPSJ Annual Meeting, Yokohama, Japan, May 26-28, 2010.
    4. เกียรติบัตรเมธีส่งเสริมนวัตกรรม ในโครงการเชิดชูเกียรติ “เมธีส่งเสริมนวัตกรรม” ประจำปี 2552 จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ไว้ ณ วันที่ 26 มกราคม 2552

     

    ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

    ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

    • Rangrong Yoksan, Apinya Boontanimitr. Effect of calcium carbonate on the performance of poly(butylene adipate-co-terephthalate) filled with duckweed biomass. Industrial Crops and Products, In press.
    • Thanatcha Tuntiworadet, Rangrong Yoksan. Property improvement of a thermoplastic starch/poly(butylene adipate-co-terephthalate) blown film by the addition of sodium nitrite. International Journal of Biological Macromolecules, 242, Part 2, 2023, 124991, https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2023.124991.
    • Rangrong Yoksan, Khanh Minh Dang. The effect of polyethylene glycol sorbitan monostearate on the morphological characteristics and performance of thermoplastic starch/biodegradable polyester blend films, International Journal of Biological Macromolecules, 231, 2023, 123332, https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2023.123332.
    • Sukanya Wongwat, Rangrong Yoksan, Mikael S. Hedenqvist. Bio-based thermoplastic natural rubber based on poly(lactic acid)/thermoplastic starch/calcium carbonate nanocomposites. International Journal of Biological Macromolecules, 208, 2022, 973-982, https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2022.03.175.
    • Wannawitayapa, W., Yoksan, R. Toughening polylactic acid by melt blending with polybutylene adipate-co-terephthalate and natural rubber, and the performance of the resulting ternary blends. J. Appl. Polym. Sci. 2022, 139( 31), e52693. https://doi.org/10.1002/app.52693
    • Rangrong Yoksan, Apinya Boontanimitr, Natthawarin Klompong, Thapakmanee Phothongsurakun, Poly(lactic acid)/thermoplastic cassava starch blends filled with duckweed biomass, International Journal of Biological Macromolecules, Volume 203, 2022, Pages 369-378. https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2022.01.159.
    • Rangrong Yoksan, Khanh Minh Dang, Apinya Boontanimitr, Suwabun Chirachanchai, Relationship between microstructure and performances of simultaneous biaxially stretched films based on thermoplastic starch and biodegradable polyesters, International Journal of Biological Macromolecules, Volume 190, 2021, Pages 141-150, https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2021.08.206.
    • Khanh Minh Dang, Rangrong Yoksan, Thermoplastic starch blown films with improved mechanical and barrier properties, International Journal of Biological Macromolecules, Volume 188, 2021, Pages 290-299, https://doi.org/10.1016/j.ijbiomac.2021.08.027.
    • Jariyasakoolroj, P., Supthanyakul, R., Laobuthee, A., Lertworasirikul, A., Yoksan, R., Phongtamrug, S., Chirachanchai, S. Structure and properties of in situ reactive blend of polylactide and thermoplastic starch. International Journal of Biological Macromolecules 2021, 182, 1238-1247.
    • Yokesahachart, C., Yoksan, R., Khanoonkon, N., Mohanty, A.K., Misra, M. Effect of jute fibers on morphological characteristics and properties of thermoplastic starch/biodegradable polyester blend. Cellulose 2021, 28(8), 1-18.
    • Towongphaichayonte, P., Yoksan, R. Water-soluble poly(ethylene glycol) methyl ether-grafted chitosan/alginate polyelectrolyte complex hydrogels. International Journal of Biological Macromolecules 2021, 179, 353-365.
    • Noivoil, N., Yoksan, R. Compatibility improvement of poly(lactic acid)/ thermoplastic starch blown films using acetylated starch. Journal of Applied Polymer Science 2020, e49675.
    • Noivoil, N., Yoksan, R. Oligo(lactic acid)-grafted starch: A compatibilizer for poly(lactic acid)/thermoplastic starch blend. International Journal of Biological Macromolecules 2020, 160, 506-517.
    • Dang, K.M., Yoksan, R., Pollet, E., Avérous, L. Morphology and properties of thermoplastic starch blended with biodegradable polyester and filled with halloysite nanoclay. Carbohydrate Polymers 2020, 242, 116392.
    • Chotiprayon, P., Chaisawad, B., Yoksan, R. Thermoplastic cassava starch/poly(lactic acid) blend reinforced with coir fibres. International Journal of Biological Macromolecules 2020, 156, 960-968.
    • Jullanun, P., Yoksan, R. Morphological characteristics and properties of TPS/PLA/cassava pulp biocomposites. Polymer Testing 2020, 88, 106522.
    • Huntrakul, K., Yoksan, R., Sane, A., Harnkarnsujarit N. Effects of pea protein on properties of cassava starch edible films produced by blown-film extrusion for oil packaging. Food Packaging and Shelf Life 2020, 24, 100480.
    • Kong, L., Yucel, U., Yoksan, R., Elias, R.J. and Ziegler, G.R. Characterization of amylose inclusion complexes using electron paramagnetic resonance spectroscopy. Food Hydrocolloids 2018, 82, 82-88.
    • Vanit, S., Sane, A., Yoksan, R., Jinkarn, T. Effect of heat treatment temperature on properties of electrosprayed paperboard. Packaging Technology and Science 2018. 31(2), 61-69.
    • Dang K.M., Yoksan R. Morphological characteristics and barrier properties of thermoplastic starch/chitosan blown film. Carbohydrate Polymers 2016, 150, 40-47.
    • Khanoonkon N., Yoksan R., Ogale A.A. Morphological characteristics of stearic acid-grafted starch-compatibilized linear low density polyethylene/thermoplastic starch blown film. European Polymer Journal 2016, 76, 266–277.
    • Khanoonkon N., Yoksan R., Ogale A.A. Effect of stearic acid-grafted starch compatibilizer on properties of linear low density polyethylene/thermoplastic starch blown film. Carbohydrate Polymers 2016, 137, 165–173.
    • Dang K.M., Yoksan R. Development of thermoplastic starch blown film by incorporating plasticized chitosan. Carbohydrate Polymers 2015, 115(22), 575-581.
    • Woranuch S., Yoksan R., Akashi M. Ferulic acid-coupled chitosan: Thermal stability and utilization as an antioxidant for biodegradable active packaging film. Carbohydrate Polymers 2015, 115, 744-751.
    • Rangrong Yoksan, Amporn Sane, Nattaporn Khanoonkon, Chanakorn Yokesahachart, Narumol Noivoil, Khanh Minh Dang. Effect of Starch and Plasticizer Types and Fiber Content on Properties of Polylactic Acid/Thermoplastic Starch Blend. International Journal of Chemical, Molecular, Nuclear, Materials and Metallurgical Engineering 2015, 9(9), 1166-1170.
    • Lomthong, T., Hanphakphoom, S., Yoksan, R. and Kitpreechavanich, V. Co-production of poly(l-lactide)-degrading enzyme and raw starch-degrading enzyme by Laceyella sacchari LP175 using agricultural products as substrate, and their efficiency on biodegradation of poly(l-lactide)/thermoplastic starch blend film. International Biodeterioration & Biodegradation 2015, 104, 401-410.
    • Inta O., Yoksan R., Limtrakul J. Hydrophobically modified chitosan: A bio-based material for antimicrobial active film. Materials Science and Engineering C 2014, 42, 569–577.
    • Chantarasataporn, P., Tepkasikul, P., Kingcha, Y., Yoksan, R., Pichyangkura, R., Visessanguan, W., Chirachanchai, S. Water-based oligochitosan and nanowhisker chitosan as potential food preservatives for shelf-life extension of minced pork. Food Chemistry 2014, 159, 463–470.
    • Woranuch S., Yoksan R. Preparation, characterization and antioxidant property of water-soluble ferulic acid grafted chitosan. Carbohydrate Polymers 2013, 96(2), 495-502.
    • Chantarasataporn P., Yoksan R., Visessanguan W., Chirachanchai S. Water-based nano-sized chitin and chitosan as seafood additive through a case study of Pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei). Food Hydrocolloids 2013, 32(2), 341-348.
    • Woranuch S., Yoksan R. Eugenol-loaded chitosan nanoparticles: II. Application in bio-based plastics for active packaging. Carbohydrate Polymers 2013, 96(2), 586-592.
    • Woranuch S., Yoksan R. Eugenol-loaded chitosan nanoparticles: I. Thermal stability improvement of eugenol through encapsulation. Carbohydrate Polymers 2013, 96(2), 578-585.
    • Keawchaoon L., Yoksan R. Preparation; characterization and in vitro release study of carvacrol-loaded chitosan nanoparticles. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces 2011, 84(1), 163-171.
    • Yokesahachart C., Yoksan R. Effect of amphiphilic molecules on characteristics and tensile properties of thermoplastic starch and its blends with poly(lactic acid). Carbohydrate Polymers 2011, 83(1), 22-31.
    • Yoksan R., Chirachanchai S. Silver nanoparticle-loaded chitosan–starch based films: Fabrication and evaluation of tensile, barrier and antimicrobial properties. Materials Science and Engineering: C 2010, 30(6), 891-897.
    • Yoksan R., Jirawutthiwongchai J., Arpo K. Encapsulation of ascorbyl palmitate in chitosan nanoparticles by oil-in-water emulsion and ionic gelation processes. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces 2010, 76(1), 292-297.
    • Ngawhirunpat T., Wonglertnirant N., Opanasopit P., Ruktanonchai U., Yoksan R., Wasanasuk K., Chirachanchai S. Incorporation methods for cholic acid chitosan-g-mPEG self-assembly micellar system containing camptothecin. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces 2009, 74(1), 253-259.
    • Choochottiros C., Yoksan R., Chirachanchai S. Amphiphilic chitosan nanospheres: Factors to control nanosphere formation and its consequent pH responsive performance. Polymer 2009, 50(8), 1877-1886.
    • Yoksan R., Chirachanchai S. Silver nanoparticles dispersing in chitosan solution: Preparation by γ-ray irradiation and their antimicrobial activities. Materials Chemistry and Physics 2009, 115, 296-302.
    • Yoksan R., Akashi M. Low molecular weight chitosan-g-L-phenylalanine: Preparation, Characterization, and complex formation with DNA. Carbohydrate Polymers 2009, 75, 95-103.
    • Yoksan R. Epoxidized natural rubber for adhesive applications. Kasetsart Journal (Natural Science) 2008, 42, 325-332.
    • Yoksan R., Chirachanchai S. Amphiphilic chitosan nanosphere: Studies on formation, toxicity, and guest molecule incorporation. Bioorganic & Medicinal Chemistry 2008, 16, 2687-2696.
    • Yoksan R., Akashi M. Preparation, structural characterization, toxicity test, and DNA release study of low molecular weight chitosan-g-L-phenylalanine/DNA complex. Kasetsart Journal (Natural Science) 2007, 41, 165-172
    • Fangkangwanwong J., Yoksan R., Chirachanchai S. Chitosan gel formation via the chitosan-epichlorohydrin adduct and its subsequent mineralization with hydroxyapatite. Polymer 2006, 47(18), 6438-6445.
    • Yoksan R., Fangkangwanwong J., Chirachanchai S. Overcoming chitosan hydrogen bond network: Another aspect of chitosan nanomaterial. Journal of Metals, Material and Minerals 2005, 15(1), 63-68.
    • Yoksan R., Akashi M., Chirachanchai S. Colloidal chitosan nanospheres. Transactions of Materials Research Society of Japan 2004, 29(6), 2877-2880.
    • Yoksan R., Akashi M., Miyata M., Chirachanchai S. Optimal γ-ray dose and irradiation conditions for producing low-molecular-weight chitosan that retains its chemical structure. Radiation Research 2004, 161, 471-480.
    • Yoksan R., Matsusaki M., Akashi M., Chirachanchai S. Controlled hydrophobic/ hydrophilic chitosan: Colloidal phenomena and nanosphere formation. Colloid and Polymer Science 2004, 282, 337-342.
    • Yoksan R., Akashi M., Hiwatari K., Chirachanchai S. Controlled hydrophobic/hydrophilicity of chitosan for spheres without specific processing technique. Biopolymers 2003, 69(3), 386-390.
    • Yoksan R., Akashi M., Chirachanchai S. Changing chitosan powder to micro/nanospheres. Journal of Electron Microscopy Society of Thailand 2003, 17(1), 93-94.
    • Yoksan R., Akashi M., Biramontri S., Chirachanchai S. Hydrophobic chain conjugation at hydroxyl group onto γ-ray irradiated chitosan. Biomacromolecules 2001, 2, 1038-1044.

    สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

    สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
    • เม็ดพลาสติกชีวภาพที่มีพลาสติกจากแป้งเป็นส่วนประกอบและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 2303001555 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน
    • เม็ดพลาสติกชีวภาพที่มีพลาสติกจากแป้งและแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนประกอบและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 23030015548 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน
    • เม็ดสารประกอบแหนเป็ดและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 2303000788 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน  อภิญญา บุญทนิมิตร
    • เม็ดพลาสติกชีวภาพที่มีแหนเป็ดเป็นส่วนประกอบและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 2303000786 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน  อภิญญา บุญทนิมิตร
    • ฟิล์มพลาสติกชีวภาพชั้นเชื่อม (Tie layer) สำหรับฟิล์มลามิเนตฐานพอลิเอสเตอร์แตกสลายได้ทางชีวภาพ และกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 2303000184 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน  ธัญญารัตน์ จิญกาญจน์  อำพร เสน่ห์  ปิยะวณี จริยะสกุลโรจน์  นฤมล น้อยหวอย
    • กรรมวิธีการผลิตอนุภาคไคโตซานกราฟท์พอลิเอทิลีนไกลคอลเมทิลอีเทอร์ร่วมกับอัลจิเนตสำหรับการกักเก็บไวเทซิน (Vitexin) เลขที่คำขอ 2203001070 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน และ ภาวิกา ต่อวงศ์ไพชยนต์
    • กรรมวิธีการผลิตอนุภาคไคโตซานกักเก็บไวเทซิน (Vitexin) เลขที่คำขอ 2203000662 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน และ นฤมล น้อยหวอย
    • เม็ดเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 2103002711 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน
    • เม็ดพลาสติกจากแป้งที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 103002712 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน
    • สูตรและกรรมวิธีการผลิตเม็ดวัสดุผสมพอลิเอสเทอร์แตกสลายได้ทางชีวภาพ/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช เลขที่คำขอ 2103002716 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน
    • แผ่นติดตนเองไวต่อแรงกดและกรรมวิธีการผลิต เลขที่คำขอ 1801005521 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน และ สุกัญญา วงวาท
    • แผ่นติดตนเองไวต่อแรงกดที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิต  เลขที่คำขอ 1801005522 ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน  สุกัญญา วงวาท และ Mikael S. Hedenqvist
    • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 8338 สูตรและกรรมวิธีการผลิตเรซินเทอร์โมพลาสติกฟลาวร์ ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน อำพร เสน่ห์ และ น้ำฝน ลำดับวงศ์
    • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 8794 กรรมวิธีการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์แบบต่อเนื่องของเรซินคอมพาวด์เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช/ฟลาวร์-พอลิเอสเทอร์ย่อยสลายได้โดยกระบวนการฉีดเข้าแม่พิมพ์  ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน อำพร เสน่ห์ และ น้ำฝน ลำดับวงศ์
    • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 9719 สูตรและกรรมวิธีการผลิตเรซินคอมพาวด์เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช/ฟลาวร์-พอลิเอสเทอร์ย่อยสลายได้ ผู้ประดิษฐ์ รังรอง ยกส้าน อำพร เสน่ห์ และ น้ำฝน ลำดับวงศ์

    ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่าน (Reviewers)       บทความวิจัยระดับนานาชาติ

    • Carbohydrate Polymers
    • Carbohydrate Research 
    • Chemical Engineering Journal
    • Colloids and Surfaces B: Biointerfaces
    • Composites Part C
    • European Journal of Medicinal Chemistry 
    • Food Hydrocolloids
    • International Journal of Biological Macromolecules
    • International Polymer Processing
    • Journal of Agricultural and Food Chemistry
    • Journal of Polymer Research
    • Physica E: Low-dimensional Systems and Nanostructures
    • Polymer Composites
    • Polymer Testing

    โครงการวิจัย (หัวหน้าโครงการวิจัย หัวหน้าชุดโครงการวิจัย หัวหน้าแผนกิจกรรม)

    โครงการวิจัย (หัวหน้าโครงการวิจัย หัวหน้าชุดโครงการวิจัย หัวหน้าแผนกิจกรรม)

    • ชุดโครงการวิจัย การพัฒนาวัสดุฐานพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตสำหรับบรรจุภัณฑ์อาหาร / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การปรับปรุงความเหนียวของวัสดุผสม PLA/TPS โดยการเติม PBS ร่วมกับการดึงยืดสองทิศทาง ภายใต้ชุดโครงการ การพัฒนาวัสดุฐานพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตสำหรับบรรจุภัณฑ์อาหาร / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • Vitexin-loaded chitosan-based nanoparticles ภายใต้ชุดโครงการ การวิจัยขั้นแนวหน้าด้านอาหารเพื่ออนาคต / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การพัฒนาพลาสติกชีวภาพจากแหนเป็ด ภายใต้ชุดโครงการ การใช้ประโยชน์แหนเป็ดและจุลินทรีย์ร่วมอาศัยเพื่อบำบัดน้ำเสียและพัฒนาเป็นพลาสติกชีวภาพ / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • ถุงพลาสติกแตกสลายได้ทางชีวภาพแบบใช้ครั้งเดียวจากวัสดุฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • การผลิตและการทดสอบเพื่อประเมินการใช้งานและการยอมรับของผู้บริโภคของอุปกรณ์พลาสติกบนโต๊ะอาหารจากวัสดุผสม TPS/PLA เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี / สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
    • การผลิตบรรจุภัณฑ์เทอร์โมฟอร์มฐานพอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ชสำหรับเนยสดแช่เย็น (ปีที่ 2) / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • แผนกิจกรรม: โครงการวิจัยและพัฒนาพลาสติกชีวภาพฐานพอลิแลคติกแอซิด: การสังเคราะห์ การดัดแปร และการประยุกต์ใช้งาน (ปีที่ 2) / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • อิทธิพลของสารตัวเติมอนินทรีย์ต่อสมบัติของยางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติกที่ขึ้นรูปโดยกระบวนการฉีดเข้าแม่พิมพ์ / สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การพัฒนายางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติกสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปโดยกระบวนการฉีดเข้าแม่พิมพ์ / สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การผลิตพลาสติกฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชในระดับกึ่งอุตสาหกรรม เพื่อการผลิตถาดเทอร์โมฟอร์มแบบใช้แล้วทิ้ง / โครงการเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อการขับเคลื่อน Thailand 4.0 โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจภายในประเทศ / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การพัฒนาสูตรและการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของวัสดุผสมฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช / สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
    • การเตรียมซีโอไลต์ดูดซับอนุภาคนาโนซิลเวอร์โดยวิธีสีเขียว / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การผลิตบรรจุภัณฑ์เทอร์โมฟอร์มฐานพอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ชสำหรับเนยสดแช่เย็น (ปีที่ 1) / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • วัสดุผสมฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชสำหรับอุปกรณ์พลาสติกบนโต๊ะอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
    • Thermoplastic starch/poly(butylene adipate-co-terephthalate)/halloysite nanotube clay composites: Effect of clay and study on phenolic compound loading and antibacterial activity / โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การพัฒนาสมบัติการทนความร้อนและความชื้นของวัสดุฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์แตกสลายได้ทางชีวภาพโดยกระบวนการอัดขึ้นรูปพลาสติกแผ่นของคอมพอสิตฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช/เส้นใยธรรมชาติ / โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การเตรียมฟิล์มฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชโดยกระบวนการอัดรีดฟิล์มเป่า / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การพัฒนาเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชให้สามารถขึ้นรูปฟิล์มเป่าร่วมกับพอลิแลคติคแอซิด / ศูนย์วิทยาการขั้นสูงเพื่อเกษตรและอาหาร สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    • การพัฒนาฟิล์มเป่าแตกสลายได้ทางชีวภาพจากวัสดุผสมเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช/พอลิแลคติกแอซิด / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • การปรับปรุงความเสถียรของสารประกอบฟีนอลิกโดยการกราฟท์บนโมเลกุลไคโตซาน / โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การพัฒนาเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชสำหรับการผลิตฟิล์มเป่าของวัสดุผสมพอลิเอทิลีน/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช / โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การเก็บกักยูจีนอลในอนุภาคนาโนไคโตซาน / ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (ศน.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
    • การใช้ประโยชน์ของวัสดุเศษเหลือจากอุตสาหกรรมการสกัดสมุนไพรไทยสำหรับการผลิตพลาสติกชีวฐาน / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การผลิตพลาสติกชีวฐานจากพืชเศรษฐกิจไทยโดยใช้เทคโนโลยีเอกซ์ทรูชั่น / โครงการหน่วยปฏิบัติการวิจัยเชี่ยวชาญเฉพาะด้านนวัตกรรมวัสดุชีวฐานเพื่ออุตสาหกรรมเกษตร / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • พลาสติกชีวภาพพอลิแลคติกแอซิด – เทอร์โมพลาสติกฟลาวร์: การผลิตเรซินคอมพาวด์โดยกระบวนการเอกซ์ทรูชั่นและการขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • การห่อหุ้มวิตามินอีในอนุภาคไมโคร/นาโนไคโตซาน / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การผลิตพลาสติกชีวฐานจากพืชเศรษฐกิจไทยโดยใช้เทคโนโลยีเอกซ์ทรูชั่น / โครงการหน่วยปฏิบัติการวิจัยเชี่ยวชาญเฉพาะด้านนวัตกรรมวัสดุชีวฐานเพื่ออุตสาหกรรมเกษตร / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • การห่อหุ้มสารต้านจุลชีพในอนุภาคไคโตซานซึ่งมีขนาดในระดับไมโคร/นาโนเมตร สำหรับวัสดุบรรจุภัณฑ์ต้านจุลชีพ / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)
    • พลาสติกชีวภาพพอลิแลคติกแอซิด – สตาร์ช : การเตรียมเรซินคอมพาวด์และบรรจุภัณฑ์โดยใช้กระบวนการเอกซ์ทรูชั่นและเทอร์โมฟอร์ม / สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • การเตรียม การตรวจสอบโครงสร้าง และสมบัติต่างๆของฟิล์มนาโนคอมพอสิทไคโตซาน/สตาร์ชที่มีการเติมอนุภาคนาโนซิลเวอร์ / สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การปรับโครงสร้างทางเคมีของยางธรรมชาติ: แนวทางสำหรับการพัฒนากาว / สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
    • การปรับโครงสร้างทางเคมีของแป้งโดยการควบคุมความเป็นไฮโดรโฟบิกและไฮโดรฟิลิก: แนวทางเพื่อการประยุกต์ใช้งานทางอุตสาหกรรม / สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สวพ. มก.)

    โครงการบริการวิชาการและการให้คำปรึกษาผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม

    โครงการบริการวิชาการและการให้คำปรึกษาผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม
    • การต่อยอดงานวิจัยเพื่อพัฒนาสูตรพลาสติกชีวภาพ
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์เทอร์โมฟอร์มของวัสดุฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช
    • การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ที่มีรำข้าวสกัดน้ำมันเป็นส่วนประกอบ
    • การพัฒนาสูตรพลาสติกชีวภาพฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชสำหรับกระบวนการเทอร์โมฟอร์มมิ่ง
    • การศึกษาสาเหตุของการเสื่อมเสียของครีมเครื่องสำอางในบรรจุภัณฑ์บลิสเตอร์
    • การวิเคราะห์ปริมาณความชื้นของผลิตภัณฑ์โคนไอศครีมที่บรรจุในถุงพลาสติกชนิดต่างๆ
    • การวิเคราะห์ค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียและค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียของสารสังเคราะห์
    • การทดสอบสมบัติต้านเชื้อแบคทีเรียของตัวอย่างพลาสติก
    • การเคลื่อนย้ายและ/หรือการปลดปล่อยของสารต้านเชื้อแบคทีเรียจากตัวอย่างพลาสติก พลาสติก
    • การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ต้านจุลินทรีย์สำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
    • การพัฒนาสมบัติการสกัดกั้นการซึมผ่านของพอลิพรอพิลีนด้วยนาโนเคลย์เพื่อการขึ้นรูปถาดด้วยกระบวนการเทอร์โมฟอร์ม
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตพลาสติกจากแป้งข้าวโพด
    • การพัฒนาพื้นรองเท้ายางพาราให้มีลักษณะเบาเพื่อลดต้นทุนการผลิต
    • การพัฒนายางธรรมชาติไร้กลิ่นหรือยางธรรมชาติมีกลิ่นหอมโดยการลดกลิ่นเฉพาะตัวที่ไม่พึงประสงค์ของยางธรรมชาติ
    • การลดของเสียและลดต้นทุนในกระบวนการผลิตโฟมยางโดยการปรับสูตรคอมพาวนด์น้ำยางและปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและการลดปริมาณโปรตีนตกค้างในโฟมยาง
    • การลดต้นทุนในกระบวนการผลิตน้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียสูง โดยเน้นการจัดการการใช้แอมโมเนียอย่างมีประสิทธิภาพ หรือการเปลี่ยนชนิดของสารเคมีรักษาสภาพน้ำยาง และถ่ายทอดวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบในน้ำยางตามมาตรฐาน ISO
    • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากยางธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งกาวน้ำยาง (water-based adhesive) เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

    ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโครงการวิจัย/คณะกรรมการ/คณะทำงาน

    พ.ศ.2566
    • กรรมการวิชาการในงานประชุมวิชาการนานาชาติโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 วันที่ 8-9 มิถุนายน 2566 ณ โรงแรม อมารี วอเตอร์เกต กรุงเทพฯ จัดโดยสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย (หนังสือเชิญที่ สพท. 85/2566 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2566)
    • ผู้ประเมินรายงานความก้าวหน้า โครงการสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ วท. ประจำปี 2561 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายนักเรียนทุนรัฐบาลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หนังสือเชิญที่ อว. 6001/3771 ลงวันที่ 20 เมษายน 2566) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ประเมินรายงานความก้าวหน้า โครงการสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ วท. ประจำปี 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (อีเมล์เชิญ วันที่ 5 เมษายน 2566) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโครงการจากรายงานโครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ฉบับสมบูรณ์ (หนังสือเชิญที่ อว. 6001/2846 ลงวันที่ 20 มีนาคม 2566) จำนวน 1 โครงการ
    พ.ศ.2565
    • คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยและติดตามประเมินผลทุนอุดหนุนวิจัย มก. ตามกรอบทุนสนับสนุนงานวิจัยมูลฐาน (Fundamental Fund) ประเภท Basic Research Fund ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อประเมินข้อเสนอแผนงานวิจัยเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามกรอบงบประมาณของมหาวิทยาลัย (หนังสือเชิญที่ อว 6501.2102/ว 433 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2565) จำนวน 7 แผนงานวิจัย
    • คณะทำงานประเมินคุณภาพผลงานวิชาการ เพื่อใช้ประกอบการเลื่อนตำแหน่งบุคลากรในกลุ่มตำแหน่งงานวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม เลื่อนตำแหน่งเป็นนักวิจัยอาวุโส สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว 11136 ลงวันที่ 26 กันยายน 2565) จำนวน 1 ราย
    • ผู้ประเมินผลงานต้นแบบผลิตภัณฑ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (อีเมล์เชิญวันที่ 16 กันยายน 2565) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินและให้ข้อเสนอแนะข้อเสนอโครงการวิจัย ในกลุ่มงานสนับสนุนการวิจัยด้านอาหาร ภายใต้แผนงานวิจัยเร่งพัฒนาการผลิตและการส่งออกอาหาร และผลไม้ไทยคุณค่าสูงและมูลค่าสูงฯ ประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) (ตามหนังสือเชิญที่ สวก 0500/ว2971 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2565) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ประเมินผลงานรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประจำปี 2565 มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ (อีเมล์เชิญวันที่ 30 มิถุนายน 2565) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโครงการครั้งที่ 1 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (หนังสือเชิญที่ 6001 /6984 ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2565) จำนวน 1 โครงการ
    • กรรมการประเมินบทความ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 วันที่ 4-5 สิงหาคม 2565 ทางออนไลน์ (Virtual Conference) ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting (หนังสือเชิญที่ สพท. 62/2565 ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2565)
    • ผู้ประเมินและให้ความคิดเห็นข้อเสนอโครงการทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป. อว.) (หนังสือเชิญที่ อว 0224.1/ว 8387 ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2565) จำนวน 1 โครงการ
    • คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ประเมินผลการดำเนินงานของโครงการวิจัยพั ฒนาและวิศวกรรมจากรายงานฉบับสมบูรณ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว 5172 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม 2565)
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณารายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ของโครงการวิจัย ภายใต้ทุนวิจัยองค์ความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2564 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ อว 68014/673 ลงวันที่ 18 เมษายน 2565) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัย ฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. (หนังสือเชิญที่ อว. 6501.2102/117 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2565) จำนวน 1 โครงการ
    • คณะทำงานคัดเลือกข้อเสนอโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่มีศักยภาพเพื่อส่งเสริมการนำไปใช้ประโยชน์ (RU) แผนงานด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และสิ่งแวดล้อม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (หนังสือเชิญที่ อว. 0402/ว1028 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2565) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัย ฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2561 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. (หนังสือเชิญที่ อว. 6501.2102/089 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565) จำนวน 1 โครงการ
    พ.ศ.2564
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) ปี 2561 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. (หนังสือเชิญที่ อว.6501.2102(บท)/825 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2564) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) ปี 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. (หนังสือเชิญที่ อว.6501.2102(บท)/749 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564) จำนวน 1 เรื่อง
    • คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ครั้งที่ 5 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว12370 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2564) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการวิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) (อีเมล์เชิญ วันที่ 6 กันยายน 2564) จำนวน 3 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้แทนหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ศึกษาวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับภาชนะบรรจุอาหาร คำสั่งแต่งตั้งในบันทึกการประชุม คณะอนุกรรมการศึกษาวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับภาชนะบรรจุอาหาร ครั้งที่ 4-4/2565 วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม 2564 เวลา 9.30 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมกองอาหาร ชั้น 3 อาคาร 3 ตึกสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
    • ผู้ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย ในสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ประยุกต์(Chemistry, Materials and Chemical Engineering) สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) (หนังสือเชิญที่ อว 0223/ว 8467 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2564) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้แทนหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ศึกษาวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับภาชนะบรรจุอาหาร คำสั่งแต่งตั้งในรายงานการประชุม คณะอนุกรรมการศึกษาวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับภาชนะบรรจุอาหาร ครั้งที่ 3-3/2564 วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.30-14.30 น. ณ ห้องประชุมชัยนาทนเรนทร ชั้น 1 อาคาร 1 ตึกสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยภายใต้แผนงาน ข้อริเริ่มการวิจัยขั้นแนวหน้าประเทศไทย โปรแกรมที่ 5 ส่งเสริมการวิจัยขั้นแนวหน้าและการวิจัยขั้นพื้นฐานที่ประเทศไทยมีศักยภาพ ประจําปีงบประมาณ 2564 หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) (หนังสือเชิญที่ อว 6202/2109 ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2564) จำนวน 3 โครงการ
    • ผู้ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (อีเมล์เชิญ วันที่ 15 มิถุนายน 2564) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย ภายใต้้แผนงานกลุ่มเศรษฐกิจหมุนเวียน หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ฝ่ายบริหารวิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต (สวทช.) (อีเมล์เชิญ วันที่ 14 มิถุนายน 2564) จำนวน 1 โครงการ
    • คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ฝ่ายบริหารโปรแกรมวิจัยและพัฒนากำลังคนเทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว 6649 ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2564) จำนวน 1 โครงการ
    • กรรมการประเมินบทความ งานประชุมวิชาการโพลิเมอร์นานาชาติแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 (The International Polymer Conference of Thailand: PCT-11) (หนังสือเชิญที่ สพท. 30/2564 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2564)
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานทางวิชาการในการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 59 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อตีพิมพ์ใน e-Proceedings ของการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ อว 6501.1701/ว0580 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564) จำนวน 3 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินงานวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์ (อีเมล์เชิญ วันที่ 12 มกราคม 2564) จำนวน 1 โครงการ
    พ.ศ.2563
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินข้อเสนอโครงการสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ (วท.) ประจำปี 2562 ฝ่ายนักเรียนทุนรัฐบาลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ  (อีเมล์เชิญ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรายงานความก้าวหน้าของโครงการวิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนและทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) (หนังสือเชิญที่ อว 6202/1737 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรายงานความก้าวหน้ารอบ 2 เดือน ของแผนงานวิจัย โครงการวิจัยและนวัตกรรมประเด็นเป้าหมายพัฒนาเศรษฐกิจและการเกษตร กลุ่มเรื่องยางพารา ประจำปีงบประมาณ 2563 สำนักงานบูรณาการวิจัยมุ่งเป้า กลุ่มเรื่องยางพารา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (หนังสือเชิญที่ สวย./074/2563 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2563) จำนวน 5 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (อีเมล์เชิญ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ฝ่ายบริหารโปรแกรมวิจัยและพัฒนากำลังคนเทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว11593 ลงวันที่ 9 กันยายน 2563) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาร่างรายงานการวิจัย ทุนสนับสนุนการวิจัย จากเงินรายได้มหาวิทยาลัย ประเภททั่วไป ประจำปี 2562 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อีเมล์เชิญ วันที่ 2 กันยายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • กรรมการประเมินบทความ ในงานประชุมวิชาการโพลิเมอร์นานาชาติแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 (The International Polymer Conference of Thailand: PCT-10) วันที่ 6-7 สิงหาคม 2563 ทางออนไลน์ (Virtual Conference) ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting สมาคมพอลิเมอร์แห่งประเทศไทย (หนังสือเชิญที่ สพท. 53/2563 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของโครงการวิจัย ภายใต้ทุนทั่วไป ปี 2562 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อีเมล์เชิญ วันที่ 21 เมษายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการที่ขอรับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม (ฝ่าย 5) (อีเมล์เชิญ วันที่ 3 เมษายน 2563) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินวิจารณ์รายงานผลการวิจัย ฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2561 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ อว 6501.2102 (บท)/193 ลงวันที่ 1 เมษายน 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญในการติดตามประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ฝ่ายบริหารโปรแกรมวิจัยและพัฒนากำลังคนเทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (หนังสือเชิญที่ อว 6001/ว4592 ลงวันที่ 1 เมษายน 2563) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินวิจารณ์รายงานผลการวิจัย ฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2558 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ อว 6501.2102 (บท)/125 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานทางวิชาการ กรณีการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (หนังสือเชิญที่ อว 7701(2)/ว-1070 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2562 และ อว 7700/05020 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563) จำนวน 1 เรื่อง
    พ.ศ.2562
    • Scientific committee FAB Conference and reviewer for the International Conference on Food and Applied Bioscience 2020 (อีเมล์เชิญ วันที่ 9 ธันวาคม 2562) ตรวจผลงานจำนวน 2 เรื่อง 
    • Poster presentation committee in the Industrial Production and Applications of Bio-based Polymers (IPAP) session at the 7th International Conference on Bio-based Polymers (ICBP 2019) at NSTDA and CU in Bangkok, Thailand, November 11-13, 2019 (หนังสือเชิญ ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2562)
    • ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาคัดเลือกโครงการวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสำคัญของประเทศด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ : กลุ่มเรื่องยางพารา ปีงบประมาณ 2563 (รอบพัฒนาข้อเสนอโครงการ) สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./ว.473/2562 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2562) จำนวน 7 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการวิจัย ในการประชุมปิดโครงการวิจัยยางพารา ปีงบประมาณ 2560 โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ในวันที่ 13 กันยายน 2562 ณ ห้องประชุม 406 อาคารสุขประชา วาจานนท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ. 398/2562 ลงวันที่ 3 กันยายน 2562) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญในการติดตามและประเมินผลการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ครั้งที่ 1 ฝ่ายบริหารโปรแกรมวิจัยและพัฒนากำลังคนเทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (หนังสือเชิญที่ อว 6001/5967 ลงวันที่ 4 กันยายน 2562) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินและให้ข้อคิดเห็นโครงการวิจัยระดับปริญญาโทและปริญญาเอก โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ นร 6211/0742/2562 วันที่ 15 มีนาคม 2562) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินร่างรายงานโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ. /ว.091/2562 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) ปี 2559 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ.0513.12505/102 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการวิจัย ในการประชุมปิดโครงการวิจัยยางพารา ปีงบประมาณ 2560 โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ห้องประชุม 402 อาคารสุขประชา วาจานนท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ. 051/2562 ลงวันที่ 24 มกราคม 2562) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการวิจัย ในการประชุมปิดโครงการวิจัยยางพารา ปีงบประมาณ 2560 โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ในวันที่ 30 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุม 406 อาคารสุขประชา วาจานนท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ. 046/2562 ลงวันที่ 22 มกราคม 2562) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการวิจัย ในการประชุมปิดโครงการวิจัยยางพารา ปีงบประมาณ 2560 โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ในวันที่ 11 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุม 402 อาคารสุขประชา วาจานนท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ. 010/2562 ลงวันที่ 7 มกราคม 2562) จำนวน 1 โครงการ
    พ.ศ.2561
    • ประธานกรรมการสอบปกป้องวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาเคมีอุตสาหกรรม ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ของนางสาวลักษิกา อ่องทิพย์ ในหัวข้อเรื่อง การเตรียมและการดัดแปรเซลลูโลสระดับนาโนจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นสารเสริมแรงในวัสดุพอลิเมอร์ ในวันที่ 13 ธันวาคม 2561 (หนังสือเชิญที่ ศธ 5805.3/408 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561)
    • ผูทรงคุณวุฒิพิจารณาขอเสนอโครงการวิจัย สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อีเมล์เชิญ วันที่ 11 ธันวาคม 2561) จำนวน 2 เรื่อง
    • ผู้พิจารณาคุณภาพโครงการวิจัยที่เสนอขอรับทุนประจำปีงบประมาณ 2562 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/ว1429 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2561) จำนวน 3 โครงการ
    • ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาข้อเสนอโครงการภายใต้แผนที่นําทางประเด็นมุ่งเน้นด้านอาหารเพื่ออนาคต ของสํานักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในวันที่ 6 ธันวาคม 2561 ณ ห้องประชุม 110 ชั้น 1 อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จังหวัดปทุมธานี จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลการดำเนินงานวิจัย ของโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติทุนสนับสนุนจากฝ่ายอุตสาหกรรมสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (หนังสือเชิญที่ สป. 30080/61 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 และ สป. 30092/61 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานทางวิชาการในการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 57 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร (หนังสือเชิญที่ ศธ 0513.11401/ว3286 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ประเมินความก้าวหน้าโครงการวิจัยรอบ 12 เดือน สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ภายใต้การดำเนินงานของฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ สปวก. 2561/274 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการวิจัย โครงการทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ (รุ่นใหม่) และทุนพัฒนานักวิจัย (รุ่นกลาง) ประจำปี 2562 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ นร 6208/1744/2561 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2561) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ประเมินและให้ข้อคิดเห็นโครงการวิจัยระดับปริญญาโท ทุนพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม-ระดับปริญญาโท โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ นร 6211/2531/2561 ลงวันที่ 21 กันยายน 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ประเมินโครงการวิจัย โครงการสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ประจำปี 2561 ฝ่ายนักเรียนทุนรัฐบาลกระทรวงวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (อีเมล์เชิญ วันที่ 12 กันยายน 2561) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0516.20/ร.1051 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2561) จำนวน 1 โครงการ
    • กรรมการประเมินบทความ งานประชุมวิชาการโพลิเมอร์นานาชาติแห่งประเทศไทย (The International Polymer Conference of Thailand: PCT) (18 พฤษภาคม 2561) จำนวน 4 เรื่อง
    • ผู้พิจารณารายงานความก้าวหน้าการวิจัย ทุนวิจัยประเภททั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/449 ลงวันที่ 26 เมษายน 2561) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความก้าวหน้าโครงการวิจัยรอบ 6 เดือน สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ภายใต้การดำเนินงานของฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ สปวก. 2561/35 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้พิจารณา ร่าง รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ทุนจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย ประเภททั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2559 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/206 ลงวันที่ 5 มีนาคม 2561 และ ศธ 0521.11/1205 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2561) จำนวน 2 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรายงานความก้าวหน้าของโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติทุนสนับสนุนจากฝ่ายอุตสาหกรรมสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (หนังสือเชิญ ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานทางวิชาการ ในการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 56 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ถึง 2 กุมภาพันธ์ 2561 (หนังสือเชิญที่ ศธ 0513.11401/ว 3153 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2560) จำนวน 3 เรื่อง
    • ผู้ประเมินและให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการวิจัยเรื่องยางพารา ทุนสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ประจำปี 2560 สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./378/2560 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2560  สปว.ยพ./385/2560 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2560 และ สปว.ยพ./056/2561 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561) จำนวน 4 โครงการ
    พ.ศ.2560
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตรวจสอบร่างรายงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร (หนังสือเชิญที่ ศธ 6821/4564 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2560) จำนวน 1 เรื่อง
    • Reviewer for the 13th International Conference on Ecomaterials (ICEM2017 : ICEM 13) หัวข้อ “Innovative Green Materials and Technologies for Sustainability under the Sufficiency Economy” วันที่ 19-23 พฤศจิกายน 2560 ณ KMUTT Knowledge Exchange for Innovation Center: KX อาคารเคเอกซ์ของมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพมหานคร (อีเมล์เชิญ วันที่ 20 กันยายน 2560) อ่านผลงานจำนวน 1 เรื่อง
    • Reviewers for the 8th Shelf Life International Meeting 2017 (SLIM 2017), Sukosol Hotel Bangkok, Thailand, November 1-3, 2017 (อีเมล์เชิญ วันที่ 10 กันยายน 2560) อ่านผลงานจำนวน 5 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) ปี 2555 โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2555 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0513.12505/798 ลงวันที่ 21 สิงหาคม 2560 และ ศธ 0513.12505/802 ลงวันที่ 21 สิงหาคม 2560) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้พิจารณาร่างรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ทุนจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย ประเภทพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2558 สำนักวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/741 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2560) จำนวน 1 โครงการ
    • Reviewer in the session of Nanobiotechnology, Biosensor and Biochips at the international conference entitled “13rd Asian Congress on Biotechnology (ACB 2017) “Bioinnovation and Bioeconomy” in Khon Kaen, Thailand on July 23-27, 2017, organized by the Asian Federation of Biotechnology (AFOB) and Thai Society for Biotechnology (TSB) (หนังสือเชิญ ลงวันที่ 23-27 กรกฎาคม 2560)
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทางวิชาการ โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง ประเทศไทย 4.0 นวัตกรรมสร้างสรรค์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ในวันที่ 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร (หนังสือเชิญที่ ศธ 6806(นฐ)/พิเศษ ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2560) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ภายใต้การดำเนินงานของฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปวก. 2560/67 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2560) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ประเมินร่างรายงานโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./166/2560 ลงวันที่ 5 มิถุนายน 2560  สปว.ยพ./174/2560 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2560 และ สปว.ยพ./265/2560 ลงวันที่ 22 กันยายน 2560) จำนวน 3 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน/วิจารณ์รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ฉบับร่าง) ปี 2559 โครงการทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2559 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0513.12505/495 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้พิจารณาคุณภาพโครงการวิจัย ประเภททุนทั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/ว 511 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2560) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หนังสือเชิญที่ สปว 0027/2560 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2560 และ สปว 0041/2560 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2560) จำนวน 2 โครงการ
    พ.ศ.2559
    • Reviewer ในการประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference 2017 (PACCON 2017) ระหว่างวันที่ 2-3 ก.พ. 2560 ณ Centra Government Complex Hotel & Convention Centre Chaeng Wattana, Bangkok (หนังสือเชิญที่ PACCON 163/2016 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2559) ประเมินบทความจำนวน 3 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิจัยเพื่อลงพิมพ์ในวารสารพิษวิทยาไทย ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 (2017) (หนังสือเชิญ ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2559) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย 6 เดือน โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ปีงบประมาณ 2559 ในวันที่ 9 กันยายน 2559 ณ ห้องประชุม 406 และ วันที่ 4 ตุลาคม 2559 ณ ห้องประชุม 402 ชั้น 4 อาคารสุขประชา วาจานนท์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./373/2559 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2559 และ สปว.ยพ./400/2559 ลงวันที่ 26 กันยายน 2559) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการวิจัย ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ (รุ่นใหม่) ทุนพัฒนานักวิจัย (รุ่นกลาง) และทุนองค์ความรู้ใหม่เพื่อเป็นพื้นฐานต่อการพัฒนา (ทุนองค์ความรู้ใหม่) ประจำปี 2560 ฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ นร 6208/1765/2559 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2559) จำนวน 3 โครงการ
    • ผู้ประเมินผลงานทางวิชาการ สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร เพื่อกำหนดตำแหน่งเป็นรองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (หนังสือเชิญที่ ศธ 5801/113/2 ลงวันที่ 8 สิงหาคม 2559) จำนวน 1 ผลงาน
    • ผู้พิจารณาคุณภาพโครงการวิจัย ประเภททุนทั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2559 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/544 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2559) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย 2-3 เดือน โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพารา ปีงบประมาณ 2559 ในวันที่ 29 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุม 406 ชั้น 4 อาคารสุขประชา วาจานนท์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./143/2559 ลงวันที่ 17 มีนาคม 2559) จำนวน 2 โครงการ
    • ผู้พิจารณารายงานความก้าวหน้าการวิจัย ครั้งที่ 1 ทุนวิจัยจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย ประเภทพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2558 สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หนังสือเชิญที่ ศธ 0521.11/289 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2559) จำนวน 1 เรื่อง
    • ผู้ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./044/2559 ลงวันที่ 26 มกราคม 2559) จำนวน 1 โครงการ
    • ผู้ประเมินและให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการวิจัยเรื่องยางพารา ทุนวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านยางพาราประจำปี 2558 และ 2559 สำนักประสานงานชุดโครงการยางพารา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หนังสือเชิญที่ สปว.ยพ./040/2559 ลงวันที่ 22 มกราคม 2559  สปว.ยพ./280/2559 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2559  สปว.ยพ./291/2559 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 และ สปว.ยพ./350/2559 ลงวันที่ 15 สิงหาคม 2559) จำนวน 4 โครงการ

    วิทยากรบรรยายพิเศษ/วิทยากรรับเชิญ (ตั้งแต่ปี 2561)

    • วิทยากรบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง สมบัติของ PLA และพอลิเมอร์ชีวภาพเชิงการค้า ในการอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับ บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำกัด ภายใต้โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิตผลิตภัณฑ์นวัตกรรมชีวภาพจากชีวมวลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมด้วยกระบวนการไบโอรีไฟเนอรี (ระยะที่ 2) วันที่ 15 สิงหาคม 2566 ผ่านระบบออนไลน์
    • วิทยากรบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง สมบัติและการใช้งานของพอลิแลคติกแอซิดและพลาสติกชีวภาพที่มีจำหน่ายเชิงการค้า ในงานสัมมนากฎระเบียบและการประเมินความปลอดภัยสำหรับวัสดุสัมผัสอาหารจากพอลิแลคติกแอซิด ภายใต้โครงการการพัฒนาและประเมินวิธีทดสอบวัสดุสัมผัสอาหาร (ปีที่ 2) จัดโดยภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สนับสนุนโดยสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องแคทลียา โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพฯ
    • นักวิจัยรับเชิญ เพื่อนำเสนองานวิจัยพร้อมใช้และตอบข้อซักถาม ในการประชุมระดมความคิด เรื่อง “แนวทางการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพเชิงพาณิชย์” วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม 811 ชั้น 1 อาคาร วช. 8 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และ ระบบ  Zoom Cloud Meetings
    • วิทยากรบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง “Case study และแบ่งปันประสบการณ์ ในการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏิบัติการกลางด้านวัสดุ ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์” ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ มาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 8 ธันวาคม 2565 ณ ห้อง 2204 อาคาร 2 ชั้น 2 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    • วิทยากรบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง “มันสำปะหลังกับการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของไทย” ในภาคการประชุมกลุ่มเฉพาะเรื่อง ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022) วันที่ 1–5 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ
    • นักวิจัยรับเชิญ เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรม เรื่อง “ถุงพลาสติกชีวภาพแบบใช้ครั้งเดียวจากวัสดุฐานเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช” ภายในภาคนิทรรศการไฮไลท์โซน “นิทรรศการศาสตร์และศิลป์งานวิจัย” ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022) ครั้งที่ 17 จัดโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยทั่วประเทศ วันที่ 1-5 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ
    • Invited speaker “Bioplastics based on thermoplastic starch and biodegradable polyesters”, the International Symposium on Materials Chemistry 2022, organized by School of Energy Science and Engineering (ESE), VISTEC, July 21, 2022, at venue Auditorium, K building, VISTEC (Vidyasirimedhi Institute of Science and Technology)
    • นักวิจัยรับเชิญ เพื่อจัดแสดงผลงานวิจัย เรื่อง “ถุงและฟิล์มไบโอจากแป้งมันสำปะหลัง” ในโซน Innovation Showcase งานมหกรรมส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (TRIUP Fair 2022) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วันที่ี 4-6 เมษายน 2565 ณ สามย่านมิตรทาวน์
    • Invited lecture “Thermoplastic natural rubber based on biodegradable polyesters and linear-lowdensity polyethylene”, International Conference on Materials Research and Innovation (ICMARI), December 15–16, 2021, Chatrium Hotel Riverside, Bangkok, Thailand.
    • Invited Speaker “Development of bioplastic packaging based on biodegradable polyester/ thermoplastic starch blends”, the Association of Bio-based Material Industry (ABbI) webinar, October 6, 2021, organized by the Association of Bio-based Material Industry (ABbI), Industrial Technology Research Institute of Taiwan.
    • วิทยากรในการเสวนา การแถลง “ผลสำเร็จจากการวิจัยและนวัตกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเขียนข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรมและการยื่นขอทุน วช.” วันที่ 18 กรกฎาคม 2564 ในรูปแบบออนไลน์ผ่าน VDO Conference ด้วยระบบ Zoom และการถ่ายทอดสด
    • Keynote Speaker in the session of “Polymers for BCG Economy” at the International Polymer Conference of Thailand 2020 (PCT-10), August 6 – 7, 2020 (2563) in a virtual conference format via zoom meeting program จัดโดยสมาคมพอลิเมอร์แห่งประเทศไทย
    • Guest Speaker in the Industrial Production and Applications of Bio-based Polymers (IPAP) session and Session Chair in the Materials Design, Functionalization and High Performance of Bio-based Polymers (MFHP) session at the 7th International Conference on Bio-based Polymers (ICBP 2019) at NSTDA and CU in Bangkok, Thailand, November 11-13, 2019.
    • วิทยากรร่วมเสวนา ในหัวข้อเรื่อง “Bioplastics…อย่าให้โอกาสเป็นวิกฤติ” ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 วันที่ 8 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    • วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง จุดประกายความคิด พิชิตนวัตกรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ในงานสัมมนาวิชาการถั่วเขียวและข้าวโพดฝักสด วันที่ 2 เมษายน 2562 ณ เดอะคาวาลิ คาซ่า รีสอร์ท อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดโดยศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท
    • Invited speaker “Food Packaging for Sustainable Development”, the seminar at HUTECH Institute of Applied Sciences, Ho Chi Minh University of Technology (HUTECH), Ho Chi Minh City, Vietnam, March 23, 2019.
    • วิทยากรร่วมเสวนา ในหัวข้อเรื่อง “บูรณาการนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ประเด็น: วัสดุภัณฑ์ชีวภาพ ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2561 สมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย วันที่ 24 ธันวาคม 2561 ณ ห้องพันธุม ดิษยมณฑล โรงแรม เคยู โฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ